วันพฤหัสบดีที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2556

FORUM : A Story-Based Framework for a Primary School Classroom



The framework of two story-based lessons provided extra language practice by supplementing course material and engaging students in a variety of activities that involvedconsolidating vocabulary and structures and also practicing microskills. The lessons seemedto be motivating and interesting and exercised both the students’ imagination and their languageskills. The stories (a) aroused students’curiosity and made them want to find outmore about the text, and (b) provided a starting point for related language activities todevelop both receptive and productive skills. The lessons also promoted vocabulary recycling, as they allowed the teacher to introduce and revise vocabulary.

FORUM : Speaking and Listening Online


  • Computer Assisted Language Learning and the Internet

The use of computer technology in the classroom is referred to as Computer Aided
Instruction (CAI).

  • Receptive communication on the Web

Communication activities on the Internet can be categorized as receptive or interactive
(Opp-Beckman 1999).

Alexander and Tate (1996) classify
websites into five types: 
(1) advocacy/opinionwebsites, such as http://www.tolerance. org/;
(2) business/marketing websites, such as http://www.south-beach-diet.biz/; 
(3) news websites,such as http://news.bbc.co.uk/;
(4) informational websites, such as http://dictionary.reference.com/; 
and (5) personal websites

  • Activities
For receptive communication activities, teachers can either create their own activities
or have students access websites that include prepared exercises.




  • Benefits and limitations
There are several benefits to using receptive communications on the Internet with language learners.


  • Interactive communications on the Web

Interactive communication activities on the Internet can be synchronous or asynchronous
(Lafford and Lafford 1997). Asynchronous activities involve two or more individuals, do not occur in real-time, and include composing and answering messages on email and discussion boards.

  • Synchronous, Computer-Mediated

Communication programs As a result of the increasing use of interactive multimedia and Internet technologies
for language learning, the term Computer-Mediated Communication (CMC) was coined to describe the interactive use of computer and Internet technologies to communicate, and to differentiate natural language
discourse analysis from computerized interactions (Paramskas 1999).

  • Activities

Live chat offers users the possibility to chat in real-time with other users from around the
world.

  • Benefits and limitations
Research into CMC has indicated several possible benefits of using electronic communications with ESL/EFL learners.


--->>The use of computers in the foreign language
classroom has greatly influenced how
teachers teach and students learn, and continuing
advances in Internet technology will
most likely continue to affect the profession.
However, as with many teaching methods,
certain principles must be followed to make
them successful. Egbert, Chao, and Hanson-
Smith (1999, 4) identify the following eight
conditions for optimal language learning
environments:
1. Learners have opportunities to interact
and negotiate meaning.
2. Learners interact in the target language
with an authentic audience.
3. Learners are involved in authentic tasks.
4. Learners are exposed to and encouraged
to produce varied and creative language.
5. Learners have enough time and feedback.
6. Learners are guided to attend mindfully
to the learning process.
7. Learners work in an atmosphere with an
ideal stress/anxiety level.
8. Learner autonomy is supported.

Volume 43  N umber 3  2 0 0 5



FORUM : Finding New Messages In Television Commercials

----หาข้อความใหม่ในโฆษณาโทรทัศน์--

  • ดูรายการกิจกรรม
  ใช้วิดีโอได้อย่างมีประสิทธิภาพในห้องเรียน ต้องมีโครงสร้างบทเรียน รวมทั้งการแสดงตัวอย่างและชมกิจกรรมที่โพสต์

1. การแสดงตัวอย่างการอภิปราย
บทเรียนเริ่มต้นด้วยการสนทนาสั้น ๆเกี่ยวกับโฆษณาทางโทรทัศน์
จากสามมุมมองที่แตกต่างกัน : เศรษฐศาสตร์ ศิลปะและความหมาย


2. ชมครั้งแรก
เทปแปดนาทีจาก 12 โฆษณา ก็แสดงให้เห็นในสิ่งทั้งปวงโดยไม่หยุดชะงัก

แล้วถามคำถามสำหรับปฏิกิริยาแรกของพวกเขา:
คุณเข้าใจทุกอย่างใช่ไหม? คุณเข้าใจเพียงเล็กน้อยใช่ไหม? คุณคาดการณ์ถูกหรือเปล่า?

3. ชมครั้งที่สอง
ในระหว่างขั้นตอนของบทเรียนโฆษณานี้กำลังศึกษาในเชิงลึก
โดยใช้ห้าขั้นตอนการวิเคราะห์ ในการทำงานในกลุ่มขนาดเล็ก นักเรียนให้ข้อมูลที่จำเป็นในแต่ละขั้นตอน
       ตัวอย่างที่ 1 โฆษณา สำหรับโทรศัพท์มือถือ

                          -ขั้นตอนที่ 1: สร้างเรื่องราวในไม่กี่ประโยค
                          -ขั้นตอนที่ 2: ระบุรายละเอียด

                          -ขั้นตอนที่ 3: ชี้แจงข้อความด้านหน้า
                          -ขั้นตอนที่ 4: อธิบายพื้นฐานข้อความ
                          -ขั้นตอนที่ 5: เพิ่มเติมเนื้อหาเฉพาะ
4.  กิจกรรมหลังดู


5.  กิจกรรมการติดตามอื่น ๆ
นักเรียนทุกคนในหลักสูตรภาคฤดูร้อน จำเป็นในการสร้างผลงานของแต่ละบุคคล
ในการทำงาน



English Teaching Forum 2005, Volume 43, Number 3

FORUM : Ten Characteristics of a Good Teacher

10 ลักษณะของครูที่ดี -----


1.  ครูที่มีความกระตือรือร้นของเขาสำหรับติดต่อสอน

2.  ครูที่มีความคิดสร้างสรรค์

3.  ครูที่สามารถเพิ่มความเร็วและอารมณ์ขันในชั้นเรียน

4.  ครูที่ท้าทายนักเรียน

5.  ครูที่จะส่งเสริมให้และมีความอดทนและผู้ที่จะไม่ให้ขึ้นอยู่กับฉัน

6.  ครูที่จะให้ความสนใจในตัวนักเรียนเหมือนกัน

7.  ครูที่รู้ไวยากรณ์ที่ดีและที่สามารถอธิบายสิ่งที่จำได้ ถ้าจำเป็น

8.  ครูที่จะใช้เวลาหนึ่งหรือสองนาทีที่จะตอบคำถามหลังเลิกเรียน

9.  ครูที่จะปฏิบัติต่อนักเรียนเหมือนกันทุกคนบนพื้นฐานที่เท่าเทียมกับสมาชิกทุกคนในชั้นเรียน

10.  ครูที่จะแยกอารมณ์ออกในและนอกห้องเรียน

สรุป....>>>>

คุณภาพที่ได้กล่าวสามารถแยกออกจากกัน
เป็นสี่ส่วน
(1) ลักษณะอารมณ์
(2) ทักษะ
(3) เทคนิคการจัดการห้องเรียนและ
(4) ความรู้ทางวิชาการ



This article was first published in Volume 25, No. 1 (1987).

Multiple Intelligences

คิดค้นโดย Howard Gardner 
โดยเชื่อว่าผู้เรียนมีจุดแกร่งในการเรียนรู้ที่ต่างกัน 
และถ้าผู้เรียนรู้จุดแกร่งของตนเองแล้วจะทำให้เรียนรู้ได้ดีขึ้น


-ความสามารถในการสื่่อสารภาษา: เสียง, ความหมายและจังหวะของคำ

-ความสามารถทางด้านตรรกะศาสตร์ : มีความสามารถในหารคิดโดยมีหลักการ

-ความสามารถทางดนตรี: ความสามารถในการออกเสียง จังหวะที่เหมาะสม

-ความสามารถในการจินตนาการ: ความสามารถในการคิดในการจินตนาการและจดจำเป็นรูปภาพ

-ความสามารถในการมีมนุษยสัมพันธ์: ความสามารถในการโต้ตอบกับอารมณ์ที่เหมาะสม

-ความสามารถในความเข้าใจตนเอง: ความสามารถในการเข้าใจความรู้สึก คุณค่า  ความเชื่่อและ กระบวนการคิดในตนเอง

-ความสามาถในความเข้าใจธรรมชาติ: พืช สัตว์ และสิ่งอื่นทางธรรมชาติ

-ความสามารถในความเข้าใจการมีชีวิต: สามารถตอบคำถามที่ลึกซึ้งของการมีชีวิตอยุ่ของมนุษย์ได้

Whole Language Approach

*** เป็นการเรียนภาษาที่เรียนแบบทั้งหมดหรือเป็นภาพรวม

*** เด็กต้องเข้าใจภาพรวมของเนื้อเรื่องก่อนแล้วค่อยดูคำศัพท์หรือไวยากรณ์ Top-Down

*** ความผิดพลาดที่ผู้เรียนเป็นส่วนหนึ่งของการเรียนรู้  ครูอาจจะทดสอบโดยการเขียน
      process writing <<--&-- >>journal keeping


Cooperative Learning

การเรียนแบบร่วมมือ เน้นทักษะทางสังคม


เป้าหมายหลัก


1.กระตุ้นให้ผู้เรียนคิดเป็นกลุ่ม
2.ผู้เรียนต้องอยู่ด้วยกันสักระยะ  เพื่อที่จะเรียนรู้ในการทำงานร่วมกัน
3.ความพยายามที่ได้ทำ  ต้องได้รางวัลทั้งกลุ่ม  ไม่ใช่คนใดคนหนึ่ง
4.สอนทักษะทางสังคม  เพื่อให้บทสนทนาราบรื่นและลึกซึ้ง
5.การเรียนรู้ภาษาจะเกิดขึ้นเมื่อใช้ภาษาเป้าหมายในการเรียนและทำงาน
6.ถึงแม้ว่านักเรียนทำงานเป็นกลุ่ม  ก็ต้องรับผิดชอบงานของตัวเองด้วย
7.ความรับผิดชอบจะต้องรับผิดชอบร่วมกัน
8.สมาชิกทุกคนถูกกระตุ้นให้มีความรู้สึกว่าตัวเองต้องรับผิดชอบและมีส่วนร่วม
9.ครูสอนการทำงานร่วมกัน

Lersen-Freeman, D. (2000). Techniques  and  Principles  in  Language  Teaching.  Hong  Kong :  Oxford  University  Press.p.164-169.


Task - Base Instruction TBI

จะเน้นตัวงานที่เสร็จมากกว่าการใช้ภาษาที่ถูกต้อง เน้นให้นักเรียนใช้ภาษาได้อย่างคล่องแคล่วเพื่อ
ให้ผู้เรียนมีความเชื่อมั่น

เป้าหมายหลัก


1.งานที่ให้ทำต้องมีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน
2.ก่อนที่ให้ทำงานเดี่ยวจะต้องซ้อมกันทั้งหมดก่อน  เพื่อให้เห็นขั้นตอนจริง
3.ครูควรแยกขั้นตอนการทำงานให้เห็นชัดเจน
4.หาวิธีให้นักเรียนมีส่วนร่วม
5.ครูใช้ภาษาอะไรก็ได้ที่จะทำให้นักเรียนสามารถเข้าใจในตัวงาน
6.ครูต้องช่วยแก้ไขเมื่อนักเรียนพูดผิด
7.การเติมเต็ม  ควรให้ทำงานjig  saw  เพื่อให้ผู้เรียนพัฒนาความเข้าใจและทักษะการพูดด้วย
8.นักเรียนควรได้รับfeedbackถึงความสำเร็จการทำงานของเขา
9.นักเรียนสามารถออกแบบงานได้ด้วยตนเอง



ประเภทของภาระงาน


--Information gap  (แลกเปลี่ยนข้อมูล)
--Opinion gap  (แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ทัศนะคติ)
--Reasoning gap  (นำเสนอข้อมูลใหม่ ในรูปแบบของตนเอง)


Lersen-Freeman, D. (2000). Techniques  and  Principles  in  Language  Teaching.  Hong  Kong :  Oxford  University  Press.p. 149-149.

Content-Base Instruction

เป็นวิธีการที่ครูจะสอนในแต่ละเนื้อหา โดยใช้ภาษาอังกฤษในการสอน  ผู้เรียนจะต้องใช้ภาษาเป้าหมายในการที่จะทำชิ้นงานให้สำเร็จ


เป้าหมายหลัก


1.เนื้อหาวิชาอื่นจะถูกใช้เพื่อใช้ในการเรียนรู้ภาษาด้วย
2.เน้นการใช้ประสบการณ์เดิมของผู้เรียน
3.เมื่อผู้เรียนได้เรียนเนื้อหาที่สอดคล้องกับประสบการณ์เดิมก็จะเป็นตัวกระตุ้นได้
4.ครูสอนแบบscaffold(จากง่ายไปยาก)  โดยให้นักเรียนสร้างประโยคแล้วครูจึง่วยเติมเต็ม
5.ภาษาจะรียนได้ดีก็ต่อเมื่อใช้เป็นสื่อในการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างนักเรียน
6.คำศัพท์จะง่ายขึ้นเพราะมีการใช้ในบทความ
7.ถ้าผู้เรียนได้เรียนรู้เรื่องจริง  เขาต้องมีการช่วยเหลือของตัวภาษา
8.ผู้เรียนเรียนรู้ภาษาและเนื้อหาโดยใช้สื่อของจริง
9.ความสามารถในการอ่าน  อภิปราย  และเขียน

Lersen-Freeman, D. (2000). Techniques  and  Principles  in  Language  Teaching.  Hong  Kong :  Oxford  University  Press.p. 137-141.


Communicative Language Teaching

เป็นหัวใจสำคัญในการสอนปัจจุบัน
 กระตุ้นให้ผู้เรียนได้ใช้ภาษาในการสื่อสาร  จะเน้นโครงสร้างไวยากรณ์และคำศัพท์

Communicative  competence


1.มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงสร้างประโยค
2.มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ภาษาทางสังคม
3.มีความรู้ความเข้าใจในการเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของประโยคต่างๆ
4.มีความรู้ความเข้าใจในการใช้กลยุทธ์ในการสื่อสาร


ต้องมีลักษณะดังนี้


1.รู้ว่าจะต้องใช้ภาษาในวัตถุประสงค์ที่แตกต่างกัน
2.รู้ว่าจะต้องใช้ในสถาการณ์แบบใด
3.เข้าใจเรื่องของบทความที่แตกต่างกันออกไป
4.เข้าใจเรื่องที่จะสื่อสารในขณะที่เรารู้อย่างจำกัด  โดยใช้กลยุทธ์ที่แตกต่างกันออกไป


ลักษณะพิเศษของCLT


1.ให้บรรลุเป้าหมายของหัวใจสำคัญทั้งสี่อย่าง
2.ความสัมพันธ์ของ form กับ function
3.เน้นการใช้ภาษาได้อย่าถูกต้องและคล่องแคล่ว
4.นึกถึงบริบทถึงสถานการณ์จริงของผู้เรียน : สื่อของจริง
5.ผู้เรียนรับผิดชอบงานต่างๆด้วยตัวเอง  ต้องเข้าใจและพัฒนากลยุทธ์ต่างๆ
6.ครูเป็นแค่ผู้ให้ความสะดวกและให้คำแนะนำ
7.บทบาทนักเรียนเป็นผู้มีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนอย่างกระตือรือร้น



เป้าหมายหลัก


1.ให้เกิดการสื่อสารจริงๆให้ได้
2.เปิดโอกาสให้ผู้เรียนทดสอบ  ทดลองสิ่งที่ผู้เรียนรู้
3.ต้องอดทนกับความผิดพลาดของผู้เรียน  เพราะว่าการที่ผู้เรียนผิดพลาด  แสดงว่าเขากำลังสร้างcommunicative  competence
4.ใช้ภาษาได้อย่างถูกต้องและคล่องแคล่ว
5.เชื่อมโยงทักษาการพูด  อ่าน  ฟัง ให้สัมพันธ์กัน
6.ให้ผู้เรียนสรุปกฏเกณฑ์เอง  เรียนแบบอุปนัย


เทคนิคการสอน

1.  ใช้สื่ิอของจริง
2.  การเรียงลำดับประโยค
3.  เกมส์ภาษา Information Gap
4.  การเรียงเรื่องราว ให้ภาพมาแล้วให้ผู้เรียนเรียงลำดับก่อนหลังในปนะโยค
5.  การแสดงบทบาทสมมติ แบบมีบทจากครู และ แบบนักเรียนคิดเอง

Communicative Language Learning


ครูต้องมองผู้เรียนทั้งหมด  คำนึงทั้งความรู้สึก  สติปัญญา  เข้าใจปฏิกิริยาภานอกที่อยู่ข้างใน  ซึ่งครูจะต้องเข้าใจในการเผชิญหน้ากับอุปสรรคต่างในการเรียนการสอนได้
---ครู  เป็นที่ปรึกษา            
---นักเรียน  เป็นผู้รับคำปรึกษา


    เป้าหมายหลัก
1.ผู้เรียนจะต้องเป็นผู้เข้ารับบริการ  ครูเป็นผู้ให้คำปรึกษา
2.ครูและผู้เรียนต้องมีความเข้าใจกัน
3.ผู้เรียนอนุญาตให้ใช้ภาษาแม่ได้  ครูทำหน้าที่เป็นผู้แปล
4.ให้ดูตัวอย่างก่อน  สอนแบบ inductive(ตัวอย่าง-โครงสร้าง)
5.คำพูดของผู้เรียนจะถูกบันทึกเอาไว้  ซึ่งคำพูดที่บันทึกเอาไว้จะต้องถอดเป็นภาษาแม่
6.นักเรยนพร้อมที่จะพูดภาษาเป้าหมายเมื่อไหร่ก็เมื่อนั้น
7.ในท้ายของการเรียน  จะคุยกันเกี่ยวกับเนื้อหา  กระบวนการเรียน  ซึ่งครูจะต้องแสดงความเห็นอกเห็นใจ
8.มีกิจกรรมหลากหลาย  เช่น  ไวยากรณ์เน้นการออกเสียง  การสร้างประโยคใหม่  หรือถอดบทสนนา


    ขั้นตอนการสอน
1.ผู้เรียนนั่งเป็นวงกลม  มีไมโครโฟน  และตัวอัดเสียง
2.ฟังเสียงที่ได้อัดและถอดเทปออกมา
3.ฝึกบทสนทนาดังกล่าว  ผู้เรียนคิดประโยคใหม่
4.คุยแสดงความคิดเห็นกัน


    เทคนิคการสอน
1.บันทึกบทสนทนาของผู้เรียน
2.ถอดเทปออกมา
3.สะท้อนผลการเรียนรู้
4.ให้ผู้เรียนฟังบทสนทนาของตัวเง
5.ครูช่วยผู้เรียนในการออกเสียง  และย้ำจนผู้เรียนเข้าใจ
6.ให้นักเรียนทำงานกลุ่มเล็กๆ

สุมิตรา  อังวัฒนกุล , 2539

Suggestopedia


          เป็นการเรียนรู้ภาษาที่เกิดอัตราการเรียนรู้ได้เร็วกว่าการเรียนอื่นๆ  โดยธรรมชาติแล้วผู้เรียนมีอุปสรรคทางจิตวิทยา  เพื่อขัดขวางการเรียนรู้ของตนเอง  ซึ่งการที่เราจะช่วยให้ผู้เรียนให้เรียนได้ทั้งร้อยเปอร์เซ็นต์  คือ  ครูผู้สอนต้องมี suggestopedia  คือต้องทำลายอุปสรรคของผู้เรียน  โดยการก้าวข้ามอุปสรรค

เป้าหมายหลัก
1.บรรยากาศห้องเรียนสะดวกสบาย  มีความผ่อนคลาย
2.ผู้เรียนสามารถเรียนรู้โดยไม่รู้ตัวจากสิ่งต่างๆที่อยู่รอบๆ
3.ถ้านักเรียนเชื่อใจและเคารพในบทบาทของครู  ก็จะสามารถรับข้อมูลได้ดีขึ้น
4.ครูต้องพยายามกำจัดสิ่งที่ผู้เรียนสร้างขึ้นมา
5.ทำอย่างไรก็ได้ให้นักเรียนเกิดความมั่นใจ  เพราะยิ่งมั่นใจมากเท่าไหร่  ก็จะเรียนรูได้ดีมากเท่านั้น
6.ใช้ภาษาแม่ในการอธิบายให้เข้าใจ
7.ใช้ศิลปะต่างๆนำมาบูรณาการ
8.ต้องรับข้อผิดพลาาดต่างๆที่ผู้เรียนสร้างขึ้นได้

ขั้นตอนการสอน
1.นักเรียนสมมุติตัวเองเป็นคนใหม่  ชื่อใหม่  อาชีพใหม่
2.ครูสอนบทสนทนา  คำศัพท์  ไวยกรณ์
3.ครูอ่านบทสนทนาให้ฟังสองรอบ
   -  ทำเสียงให้สอดคล้องกับเสียงดนตรี
   -  อ่านเร็วกว่าปกติ  มีดนตรีประกอบแบบสบายๆ
4.ให้ผู้เรียนได้รับโอกาสในการทำกิจกรรมที่หลากหลาย  เช่น  ละคร  เกม

เทคนิคการสอน
1.ครูจัดบรรยากาศห้องเรียนให้มีความผ่อนคลาย
2.ผู้เรียนเรียนรู้สิ่งต่างๆที่เห็นในห้องเรียนโดยไม่ตั้งใจ
3.ผู้เรียนได้รับการแนะนำ
4.ผู้เรียนได้เห็นภาพ  ครูอาจจะวาดให้ดู
5.ผู้เรียนเลือกตัวตนใหม่
6.ใช้บทบาทสมมุติ
7.อ่านตามทำนองเพลง
8.ใช้กิจกรรมที่หลากหลาย

Larson-Freeman, D., 2000